|

 |
|
 |
|
 |
|
 |
|
 |
|
|
เริ่มนับ วันที่ 27 ก.ค. 2555 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ตื่น ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ปัจจุบันสำนักงานเป็น ที่ทำการชั่วคราว ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 113 หมู่ 5 บ้านคำหวัน ตำบลแม่ตื่น อำเภอแม่ระมาด
จังหวัดตาก |
|
|
|
|
|
องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ตื่น เป็นตำบลหนึ่งใน ๖ ตำบลของอำเภอแม่ระมาด ระยะห่างจากตัวอำเภอแม่ระมาดไปทางทิศเหนือ ๒๖ กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ ๕๑๒.๒๔ ตารางกิโลเมตร หรือ ๓๒๐,๑๕๐ไร่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|

 |
โค |

 |
ไก่ |

 |
ช้าง |

 |
กระบือ |

 |
เป็ด |

 |
แพะ |

 |
สุกร |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
เกษตรกรของตำบลแม่ตื่น มีระบบการปลูกพืช ดังนี้ |

 |
ข้าวนาปี ปลูก |
จำนวน |
1 |
ครั้ง/ปี |

 |
ข้าวไร่ ปลูก |
จำนวน |
1 |
ครั้ง/ปี |

 |
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ |
จำนวน |
1 |
ครั้ง/ปี |
|
|
|
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ต.แม่ตื่น อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ต.พระธาตุ ต.สามหมื่น ต.ขะเนจื้อ อ.แม่ระมาด จ.ตาก |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ต.บ้านนา อ.สามเงา จ.ตาก |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ต.แม่หละ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก |
|
|
|
     |
|
  |
|
 |
 |
 |
|
|
|
|
สภาพพื้นที่ส่วนมากเป็นป่าเขาที่ราบสูง โดยมากเป็นที่ราบเพียงเล็กน้อย พื้นที่ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติและบางส่วนอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ |
|
|
|
|
|
|

 |
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - เมษายน อากาศจะร้อนมากที่สุดในเดือนเมษายน อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ยต่ำสุดประมาณ 28 องศาเซลเซียส สูงสุดในเดือนเมษายน อุณหภูมิเฉลี่ย ประมาณ 33องศาเซลเซียส |

 |
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม ฝนตกมากในเดือนสิงหาคม อุณหภูมิ เฉลี่ยต่ำสุด ประมาณ 19 องศาเซลเซียส สูงสุดประมาณ 29 องศาเซลเซียส |
|
|

 |
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์ อุณหภูมิต่ำสุด ในเดือนธันวาคม โดยเฉลี่ย ประมาณ 10 องศาเซลเซียส สูงสุดอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 25 องศาเซลเซียส |
|
|
|
|
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตรเป็นหลัก ปลูกข้าว พืชไร่ ไม้ผล พืชผัก โดยมีการปศุสัตว์เป็นอาชีพเสริม |
|
|
|
|
|
|
|
|
|

 |
ข้าวไร่ |
พื้นที่เพาะปลูก |
18,114 |
ไร่ |

 |
ข้าวนาปี |
พื้นที่เพาะปลูก |
3,615 |
ไร่ |

 |
ข้าวนาปี |
พื้นที่เพาะปลูก |
100 |
ไร่ |

 |
กาแฟ |
พื้นที่เพาะปลูก |
415 |
ไร่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 10,532 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 5,424 คน |
คิดเป็นร้อยละ 51.50 |

 |
หญิง จำนวน 5,108 คน |
คิดเป็นร้อยละ 48.50 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 3,705 ครัวเรือน |
ความหนานแน่นเฉลี่ย 20.56 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
บ้านห้วยน้ำเย็น |
366 |
318 |
684 |
256 |
|
 |
2 |
|
บ้านห้วยพระเจ้า |
152 |
167 |
319 |
126 |
 |
|
3 |
|
บ้านห้วยมะขาม |
160 |
173 |
333 |
157 |
|
 |
4 |
|
บ้านห้วยพลู |
358 |
314 |
672 |
246 |
 |
|
5 |
|
บ้านคำหวัน |
228 |
213 |
441 |
161 |
|
 |
6 |
|
บ้านห้วยกระทิง |
239 |
219 |
458 |
155 |
 |
|
7 |
|
บ้านทุ่งต้นงิ้ว |
406 |
369 |
775 |
373 |
|
 |
8 |
|
บ้านห้วยสินา |
645 |
644 |
1,289 |
459 |
 |
|
9 |
|
บ้านห้วยหมาบ้า |
391 |
369 |
760 |
269 |
|
 |
10 |
|
บ้านห้วยโป่ง |
793 |
751 |
1,544 |
484 |
 |
|
11 |
|
บ้านห้วยมะพร้าว |
595 |
599 |
1,194 |
414 |
|
 |
12 |
|
บ้านแพะ |
278 |
275 |
553 |
176 |
 |
|
13 |
|
บ้านเลอตอ |
813 |
697 |
1,510 |
429 |
|
 |
|
|
รวม |
5,424 |
5,108 |
10,532 |
3,705 |
 |
|
|
  |
|
|
|
|
|
|
|
|
|